( Helping Verb หรือ
Auxiliary Verb )
กิริยาช่วย คือ
กิริยาที่มีหน้าที่ช่วยให้กิริยาด้วยกัน
มีความหมายดีขึ้น
และ
ยังมีหน้าที่ทำให้ตัวของมันเอง
มีความหมายที่สมบูรณ์ขึ้น
ได้ดีอีกด้วย เช่น
She studies in Lamp – Tech college .
Does she study in Lamp – Tech
College?
คำกริยาช่วยมี 24 ตัว คือ
กริยาช่วย
|
รูปปฎิเสธ
|
คำย่อ
|
is
|
is not
|
isn't
|
am
|
am not
|
-
|
are
|
are not
|
aren't
|
was
|
was not
|
wasn't
|
were
|
were not
|
weren't
|
do
|
do not
|
don't
|
does
|
does not
|
doesn't
|
did
|
did not
|
didn't
|
has
|
has not
|
hasn't
|
have
|
have not
|
haven't
|
had
|
had not
|
hadn't
|
can
|
can not
|
can't
|
could
|
could not
|
couldn't
|
may
|
may not
|
mayn't
|
might
|
might not
|
mightn't
|
will
|
will not
|
won't
|
would
|
would not
|
wouldn't
|
shall
|
shall not
|
shan't
|
should
|
should not
|
shouldn't
|
must
|
must not
|
mustn't
|
need
|
need
not
|
needn't
|
dare
|
dare
not
|
daren't
|
ought
|
ought
not
|
oughtn't
|
used to
|
used not to
|
usedn't to
|
วิธีการใช้
1.
ถ้าประโยคนั้นมีกริยานุเคราะห์ 24 ตัวนี้ตัวใดตัวหนึ่ง
ปรากฏอยู่ในประโยคแต่เพียงลำพังไม่มีกริยาอื่นเข้ามาร่วมประโยคนั้น
กริยานุเคราะห์ทำหน้าที่เป็นกริยาแท้
2.
ถ้าประโยคกริยานุเคราะห์มาร่วมกับกริยาตัวอื่น มันก็ทำหน้าที่เป็นกริยาช่วยไป
ไม่ใช่เป็นกริยาแท้
หน้าที่ของ Verb to be
1.
วางไว้หน้ากริยาที่มี ing ทำให้ประโยคนั้น
เป็น
continuous Tense มีความหมาย แปลว่ากำลังทุกครั้งไป
(เฉพาะสกรรมกริยา )
ทำให้ประโยคนั้นเป็นกรรมวาจก ( Passive
Voice )
มีความหมาย แปลว่าถูกเป็นเอกลักษณ์
3.
วางไว้หน้ากริยาสภาวมาลา (Infinitive)
แปลว่าจะต้องมีความหมายเป็นอนาคตกาล
เพื่อแสดงถึงความจงใจ หรือตั้งใจ
หน้าที่ของ Verb to do
1.
ช่วยทำประโยคบอกเล่าให้เป็นประโยคคำถาม
2.
ช่วยทำให้ประโยคบอกเล่าเป็นประโยคปฏิเสธ
ในกรณีที่ประโยคนั้น Verb to have ไม่มี Verb
to beไม่อยู่
3.
ใช้หนุนกริยาตัวอื่นเพื่อให้เกิดความสำคัญ
กับกริยาตัวนั้นว่าจะต้องทำเช่นนั้นจริงๆ
หรือเกิดขึ้นจริงๆโดยให้เรียงไว้
4.
ใช้แทนกริยาตัวอื่นที่อยู่ประโยคเดียวกัน
เพื่อต้องการมิให้ใช้กริยาตัวเดิมนั้นซ้ำๆซากๆ
5.
Verb to doถ้านำมาใช้เป็นกริยาแท้แปลว่าทำ
He does his home work every day. (เขาทำการบ้านของเขาทุกๆวัน)
หน้าที่ของ Verb to have
1.
เรียงไว้หน้ากริยาช่อง3ทำให้ประโยคนั้นเป็น
2.
ใช้โดยมีกริยาสภาวมาลา ( Infinitive )
ตามหลังมีความหมายแปลว่าต้องตลอดไป
3.
ใช้ให้เกิดความหมายเท่ากับเหตุกัตตาประโยค
คือประโยคที่ทำให้ผู้อื่นกระทำการอย่างหนึ่งอย่างใดให้
ในกรณีเช่นนี้ต้องใช้รูปประโยค
Have + Noun + Verb 3
หน้าที่ของ Will, Shall, Would,
Should
Will ทำหน้าที่ช่วยกริยาตัวอื่นเพื่อให้เป็นอนาคต
และใช้กับประธานที่เป็นบุรุษที่2-3
และนามเอกพจน์หรือพหูพจน์ทั่วไป
Shall ทำหน้าที่ช่วยกริยาตัวอื่นเพื่อให้เป็นอนาคตกาล
และใช้กับประธานที่เป็นุรุษที่1
เท่านั้น
Would ใช้เป็นกริยาช่วยดังต่อไปนี้
2.ใช้เป็นกริยาในสำนวนการพูดอยากจะ, อยากให้ในกรณีเช่นนี้ใช้กับ
ทุกพจน์ทุกบุรุษและมีความหมายเป็นปัจจุบันกาลธรรมดา
3.ใช้กับสำนวนการพูดว่าควรจะ…ดีกว่าควบกับ better
หรือ rather
ได้กับทุกพจน์ทุกบุรุษ
Should แปลว่าควร
หรือควรจะถือเป็นปัจจุบันกาล
ใช้ได้กับทุกตัวประทานซึ่งส่วนมากมักจะใช้แทน ought
to
โดยเฉพาะภาษาพูด
หน้าที่ของ May, Might
May นำมาช่วยดังนี้
1.
เพื่อแสดงความมุ่งหมาย
2.
เพื่อแสดงความปรารถนาหรืออวยพรให้
3.
ช่วยเพื่อแสดงถึงการอนุญาตหรือการขออนุญาต
4.
ช่วยเพื่อแสดงการคาดคะเน
5.
ช่วยเพื่อแสดงความสงสัย
Might นำมาใช้ช่วยดังนี้
1. ใช้เป็นอดีตของmay
2. ใช้ในกรณีที่ผู้พูดไม่แน่นอนใจจะทำหรือไม่
(แต่หากแน่นอนใจให้ไปใช้mayแทน )
การใช้ Need, Dare, Ought to,
Used to
Needถ้าเป็นกริยาช่วยแปลว่าจำเป็นต้องใช้ได้กับ
ทุกบุรุษและทุกพจน์
ส่วนมากมักจะใช้เป็น
กริยาช่วยในประโยคคำถามและประโยคปฏิเสธเท่านั้น
กริยาแท้ที่ตามหลัง Need ไม่ต้องใช้ to นำหน้า
ไปตามบุรุษ,พจน์,กาล เหมือนกริยาทั่วๆไป
Dareถ้าเป็นกริยาช่วยแปลว่ากล้าใช้ได้กับ
ทุกบุรุษทุกพจน์
ทุกบุรุษทุกพจน์
และเป็นปัจจุบันกาล
Infinitive ที่ตามหลัง
เป็น Infinitive ที่ไม่มี to
เป็น Infinitive ที่ไม่มี to
Ought to แปลว่าควรจะตัวนี้เป็นกริยาพิเศษทั่วๆไปกล่าวคือ
เมื่อเป็นประโยคบอกเล่าก็เรียง ought
to ไว้หลังตัวประธานในประโยค
และกริยาแท้ที่ตามหลัง ought to ก็ต้องเป็นกริยาช่อง 1ตลอดไป
หากเป็นคำถามก็ให้เอาเฉพาะ ought ขึ้นไปวางไว้ต้นประโยค
และเมื่อทำเป็นประโยคปฏิเสธก็ให้เติม not ลงข้างหลัง ought
อย่างหนึ่งอย่างใดในอดีตเป็นประจำแต่บัดนี้
ไม่ได้ทำการนั้นอีกแล้ว
ไม่ได้ทำการนั้นอีกแล้ว
กริยาที่ตามหลัง used
to ต้องเป็น
กริยาช่อง 1 ตลอดไป
กริยาช่อง 1 ตลอดไป
หากเป็นประโยคบอกเล่าให้เรียงไว้หลังประธาน
เป็นคำถามนำเอา Did ขึ้นไปวางไว้ต้นประโยค
และเมื่อทำเป็นประโยคปฏิเสธก็ให้
เติม did ก่อนแล้วจึงเติม not ลงไป
เติม did ก่อนแล้วจึงเติม not ลงไป