วันเสาร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

Yogurt โยเกริ์ต



  

 Yogurt





 



Yogurt or yoghurt (other spellings listed below; US: 
/ˈjoʊɡərt/, UK: /ˈjɒɡət/) is a dairy product produced 
by bacterial fermentation of milk. The bacteria used to 
make yogurt are known as "yogurt cultures". 
Fermentation of lactose by these bacteria produces 
lactic acid, which acts on milk protein to give yogurt
its texture and its characteristic tang.


                          



 
Worldwide, cow's milk is most commonly used to 
make yogurt, but milk from water buffalo, goats
sheep, camels and yaks is also used in various 
parts of the world.

    




Dairy yogurt is produced using a culture of Lactobacillus 
delbrueckii subsp. bulgaricus and Streptococcus 
salivarius subsp. thermophilus bacteria. In addition, 
also sometimes added during or after culturing yogurt.




Yogurt is nutritionally rich in protein, calcium, riboflavin,
vitamin B6 and vitamin B12.[27] It has nutritional benefits
beyond those of milk. People who are moderately  
lactose-intolerant can consume yogurt without ill effects, 
because much of the lactose in the milk precursor is 
converted to lactic acid by the bacterial culture.[28]


Yogurt containing live cultures is sometimes used in 
an attempt to prevent antibiotic-associated diarrhea.[29]



Yogurt contains varying amounts of fat. There is non-fat
(0% fat), low-fat (usually 2% fat) and plain or 
whole milk yogurt (4% fat).[30] 


A study published in the International Journal of Obesity 
(11 January 2005) also found that the consumption of 
low-fat yogurt can promote weight loss, especially due to
the calcium in the yogurt.[31


นมเปรี้ยว   หรือ   โยเกิร์ต

  นมเปรี้ยว หรือ โยเกิร์ต (อังกฤษ: yoghurt (ภาษาอังกฤษใช้คำนี้

เรียกรวม ๆ ทั้งนมเปรี้ยวและโยเกิร์ต)) เป็นผลิตภัณฑ์ที่ทำจาก 
นมชนิดต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น นมสด นมพร่องมันเนย หรือ นมถั่วเหลือง  
โดยการใช้แบคทีเรีย แลคโตบาซิลัส เอซิโดซิส และ สเตรปโตคอคคัส เทอร์โมฟิลลัส เป็นหลักใส่ลงไปหมักผลิตภัณฑ์นมต่างๆ 

แบคทีเรียเหล่านี้ช่วยย่อยน้ำตาลแลคโตสในนมให้เป็นกรดแลคติค  
ทำให้มีภาวะกรดและมีรสเปรี้ยวโดยมีความเป็นกรด-เบสอยู่ระหว่าง 
 3.8-4.6 นมเปรี้ยว มี 2 ชนิด คือ ชนิดแรกเป็นนมเปรี้ยวที่มีลักษณะ
เป็นน้ำคล้ายเครื่องดื่ม อีกชนิดหนึ่งเป็นนมเปรี้ยว
ที่มีลักษณะเหลวข้นที่เรียกว่า โยเกิร์ต

ความเป็นมา

 

  นักประวัติศาสตร์มีความเห็นว่า โยเกิร์ตเป็นอาหารที่รวมอยู่ใน
โภชนาการของชนเผ่าทราเซียน อันเป็นบรรพบุรุษเก่าแก่ที่สุด
ของชาวบัลแกเรีย ชาวทราเซียนเก่งในการเลี้ยงแกะ คำว่า yog  
ในภาษาทราเซียน แปลว่า หนาหรือข้น ส่วน urt แปลว่า น้ำนม 
คำ yoghurt น่าจะได้มาจากการสมาสของคำทั้งสอง


ในยุคโบราณราวศตวรรษที่ 4 ถึง 6 ก่อนคริสตกาล ชาวทราเซียน
มีวิธีการเก็บรักษาน้ำนมไว้ในถุง ที่ทำจากหนังแกะ เวลาไปไหนต่อไหน
ก็เอาถุงนี้คาดเอวไว้    ความอบอุ่นจากร่างกายร่วมกับจุลชีพที่มีอยู่
ในหนังแกะ ช่วยให้เกิดปฏิกิริยาการหมักขึ้น 
น้ำนมในถุงก็กลายสภาพเป็นโยเกิร์ตไป
  

นักวิทยาศาสตร์บางคนสันนิษฐานว่า สิ่งที่มีมาก่อนโยเกิร์ตน่าจะเป็น
 น้ำนมหมักที่ใช้ดื่ม เรียกว่า คูมิส (Kumis) น้ำนมชนิดนี้ทำมาจาก
น้ำนมม้า โดยชนเผ่าที่มาอยู่ก่อนหน้าชาวบัลแกเรีย เช่น ชนเผ่าที่เร่ร่อน
 ที่อพยพจากทวีปเอเชียมายังคาบสมุทรมัลข่าน ในปี ค.ศ.681




ในยุโรปตะวันตก โยเกิร์ตปรากฏขึ้นเป็นครั้งแรกในศตวรรษที่ 16 
ในราชสำนักของกษัตริย์ฟรานซิสที่ 1 แห่งฝรั่งเศส 
ครั้งนั้นกษัตริย์พระองค์นี้ประชวร มีพระอาการปั่นป่วนในท้อง 
แพทย์ชาวตุรกีผู้หนึ่งจึงทำการรักษาโดยให้เสวยโยเกิร์ตที่นำมาจาก
บัลแกเรีย เรื่องนี้ศาสตราจารย์คริสโต โชมาคอฟ  
รายงานไว้ในหนังสือ Bulgarian Yoghurt-Health and Longerity
              
   

ประโยชน์

นมเปรี้ยวเป็นอาหารที่ให้คุณค่าทางโภชนาการดีกว่านมสด เช่น  
โปรตีนเคซีนในนมเปรี้ยวจะถูกนำไปใช้ประโยชน์ต่อร่างกายได้ดีกว่า
เพราะย่อยสลายได้ง่ายกว่า[1] ดร.โยชิโร ชิมาซากิ ศึกษาว่า
การกินนมเปรี้ยวที่มีกรดน้ำนมจะช่วยรักษาอนามัยปาก 
ป้องกันไม่ให้เป็นรำมะนาด [2]



อ้างอิง




ดูวีดีโอ    ทำโยเกิร์ต 
http://www.youtube.com/watch?v=z5g6Nk9rPEQ&feature=related